วันพฤหัสบดีที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

นิทรรศการศิลปะสร้างสรรค์



VDO รวมภาพ นิทรรศการศิลปะสร้างสรรค์ (BY MAPRANG)

( ความรู้สึกการเรียนวิชานี้ )

ขึ้นชื่อว่า "ครู" ปฎิเสธไม่ได้เลยว่า...เป็นอาชีพที่เหนื่อย และใช้ความอดทนที่สุด
           อาชีพครู เป็นอาชีพที่มีเกียติ อาชีพหมอหรือพยาบาลที่สามารถช่วยชีวิตคนแล้ว อาชีพครูในความคิดของดิฉันถือว่าสำคัญอย่างยิ่ง เพราะ ครูคือผู้ที่อบรมณ์ บ่มนิสัยให้เราเป็นคนดี อ่านออก-เขียนได้ ครูจิงเปรียบประจุด แม่(พ่อ)คนที่ 2 ของเรา
....ดิฉันภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของคำว่า "ครู" ถึงแม้ตอนนี้อาจจะเรียกว่าครูได้ไม่เต็มปาก แต่ในอนาคตดิฉันจะเป็นครูที่ดี เพราะว่า ดิฉันมีครูดีที่คอยอบรมณ์ สั่งสอน ..

การเรียนวิชานี้ทำให้ดิฉัน รักในการเป็นครูยิ่งขึ้นเพราะนอกจากเราจะสอนเด็กที่ปกติแล้ว ยังมีเด็กจำนวนไม่นอนที่ต้องการความดูแลเอาใจใส่เป็นพิเศษ และแต่บุคคลก็ต้องการความเอาใจใส่ที่แตกก่างกันไป

ดิฉันของขอบพระคุณ อาจารย์ตฤณ แจ่มถิน ณ ที่นี้ด้วยที่

ศิษย์น้อมกราบ
ขอบพระคุณ คุณครูเหลือ
ที่คอยเกื้อ เจือจุน หนุนใจฉัน
ทุกสิ่งดี ที่บัดนี้ มีทุกวัน
ก็เพราะครู ผู้เลอสรรค์ บันดาลมา





วันอังคารที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกครั้งที่ 11

สาระการเรียนรู้




 >> เรียนอย่างไรในศูนย์การศึกษาพิเศษ <<

ภาวะการเรียนบกพร่อง (Learning Disorders – LD)

หน่วยงานที่ให้ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
-                             - สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ( สศศ )
               - โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์
-                           - ศูนย์การศึกษาพิเศษ( Eaely Intervention : EI )
-                           -โรงเรียนเฉพาะความพิการ
-                           -สถาบัญราชานุกูล
       การรักษาด้วยยา
-                  Ritalin
-                  Dexedrine
    Cylert

..................................................................................................................................................
LD คืออะไร?
•    ความบกพร่องของกระบวนการเรียนรู้ ที่เกิดจากการทำงานที่ผิดปกติของสมอง
ทำให้ความสัมฤทธิ์ผลด้านการเรียนต่ำกว่าความเป็นจริง
•    ความบกพร่องนี้อาจเกิดขึ้นเฉพาะความสามารถด้าน ใดด้านหนึ่ง เช่น การอ่าน
การเขียน การสะกดคำ การคำนวณ หรือหลายๆด้านร่วมกัน
สาเหตุของ LD
•    ความผิดปกติของการทำงานของสมองที่ไม่สามารถถอดรหัสตัวอักษรออกมาได้
(เชื่อมโยงภาพตัวอักษรเข้ากับเสียงไม่ได้)
•    กรรมพันธุ์ 
ประเภทของ LD
•          LD ด้านการเขียนและสะกดคำ
•          LD ด้านการอ่าน
•          LD ด้านการคำนวณ
•          LD หลายๆ ด้านร่วมกัน




วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บันทึกครั้งที่ 10

สาระการเรียนรู้

Down’n   Syndrome

-         รักษาตามอาการ
-         แก้ไขความผิดปกติที่พบ
-         ให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้ในชีวิตประจำวัน
-         เน้นการดูแลแบบองค์รวม (holistic  approach)
1.              ด้านสุขภาพอนามัย
บิดา มารดาให้พาบุตรไปพบแพทย์ตั้งแต่แรกเริ่ม ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ
2.              การส่งเสริมพัฒนาการ
เด็กกลุ่มดาวน์ สามารถพัฒนาการได้ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3.              การดำรงชีวิตประจำวัน
ฝึกให้ช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด
4.              การฟื้นฟูสมรรถภาพ
-         การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ เช่น การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
-         การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษาโดยจัดทำแผนการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
-         การฟื้นฟูสมรรถภาพทางสังคม เช่น การฝึกทักษะการดำรงชีวิตประจำวัน
-         การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพโดยการฝึกอาชีพ
-          
การเลี้ยงดุในช่วง 3 เดือนแรก
-         การยอมรับความจริง
-         ให้ความรักความอบอุ่น
-         การตรวจภายใน ตรวจหามะเร็งปากมดลูก และเต้านม
-         การคุมกำเนิด และ การทำหมัน
-         การสอนเพศศึกษา
-         ตรวจโรคหัวใจ
การส่งเสริมพัฒนาการ
-         พัฒนาด้านต่างๆ เช่น คณิตศาสตร์และภาษา
-         สามารถปรับตัวและช่วยเหลือตนเองได้มากขึ้น
-         ลดปัญหาพฤติกรรม

Autistic

ส่งเสริมความเข้มแข็งครอบครัว
-         ครอบครัวมีบทบาทสำคัญที่สุดในกระบวนการดูแลช่วยเหลือเด็กออทิสติก
ส่งเสริมสร้างความสามารถเด็ก
-         การเสริมสร้างโอกาสให้เด็กได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย
-         ทำกิจกรรมที่หลากหลาย
การปรับพฤติกรรมและฝึกทักษะทางสังคม
-         เพิ่มพฤติกรรมที่เหมาะสมและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
-         การให้แรงเสริม
การฝึกพูด
-         โดยเฉพาะในรายที่มีพัฒนาการด้านภาษาและการสื่อความหมายล่าช้า
-         ถ้าเด็กพูดได้เร็ว โอกาวที่จะมีพัฒนาการทางภาษาใกล้เคียงปกติก็จะเพิ่มมากขึ้น
-         ลดการใช้ภาษาที่ไม่เหมาะสม
-         การสื่อความหมายทดแทน (AAC) 

การใช้สื่อทดแทน (Augmentative and Alternative Communication : AAC)

-         การรับผู้ผ่านการมอง
-         โปรแกรมแลกเปลี่ยนภาพเพื่อการสื่อสาร
-         เครื่องโอภา
-         โปรแกรมปราศรัย
การฟื้นฟูสมรรถภาพางการศึกษา
-         เพิ่มทักษะด้านพื้นฐานด้านสังคม การสื่อ และทักษะทางความคิด
-         แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

-         โรงเรียนร่วม ห้องเรียนคู่ขนาน